สังคมผู้สูงอายุ No Further a Mystery

งานบริหารงานวิจัย บริการวิชาการ ยุทธศาสตร์และบริหารความเสี่ยง หน่วยบริหารงานวิจัยและบริการวิชาการ

การมีบุตรรับประกันความสุขในบั้นปลายชีวิต?

ตอบโจทย์ความต้องการของสังคมสูงวัย   

เหตุใดหญิงตั้งครรภ์ชาวอัฟกันเสี่ยงเสียชีวิตและเสียลูกเพิ่มขึ้น หลังการยึดครองของตาลีบัน

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม (หลักสูตรไทย)

ข้อมูลอ้างอิงประชากร ศัพทานุกรมการวิจัยทางประชากรและสังคม

ถึงแม้จะมีนโยบายการลาคลอดบุตรที่ยาวนาน แต่กรามาติโควาระบุว่าบัลแกเรียยังมีปัญหาอื่นที่ไม่เป็นมิตรต่อการเลี้ยงดูบุตร เช่น การขาดแคลนผู้ประกอบวิชาชีพด้านดูแลเด็ก เงินเดือนที่ต่ำ ภาวะเงินเฟ้อรุนแรง ราคาอสังหาริมทรัพย์สูง ความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ที่สูงระหว่างชายหญิง

การที่คนในสังคมไม่นิยมมีบุตรทำให้คนวัยทำงานลดลง ซึ่งโดยนัยทางเศรษฐศาสตร์หมายถึงผู้มีกำลังชำระภาษีให้แก่ส่วนกลางย่อมน้อยลง รวมถึงคนที่ทำงาน และช่วยดูแลผู้สูงอายุในอนาคตน้อยลงด้วยเช่นกัน แต่นั่นไม่ควรเป็นเงื่อนไขว่าผู้ดูแลผู้สูงอายุในอนาคตจะหายไป รวมถึงความสุขของผู้สูงอายุด้วย

การเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพเป็นเป้าหมายสำคัญาของประเทศไทย และเพื่อให้ไปสู่เป้าหมายนั้น การทำวิจัยจึงเข้ามามีบทบาทสำคัญในการค้นหาปัญหาที่แท้จริงของผู้สูงอายุในประเทศไทยในมิติต่างๆ ทั้งเรื่องของชีวิตความเป็นอยู่ การเชื่อมโยงกับสิ่งแวดล้อม ชุมชน สังคม สังคมผู้สูงอายุ รายได้ การพัฒนาศักยภาพรวมถึงเรื่องราวของโรคภัยไข้เจ็บ รวมถึงจัดการกับปัญหาเพื่อหาทางออกที่จะทำให้ผู้สูงอายุ ใช้ชีวิตอย่างมีความสุขมากขึ้น

สังคมผู้สูงอายุในปัจจุบันและเศรษฐกิจในประเทศไทย

การสมัครเข้าศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต

มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสและป้องกันการทุจริตภายในหน่วยงาน

พระราชบัญญัติการบริหารส่วนงานภายในของสถาบันอุดมศึกษา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒

ปกติเราเห็นคนหนุ่มสาวเป็นแกนนำชุมชน แต่ที่บ้านปลักปรือนี้พิเศษอยู่อย่างที่ผู้สูงอายุเป็นแกนนำของทุกอย่าง ด้วยความรู้สมุนไพรที่สั่งสมมานาน ประสานเข้ากับกระบวนการวิจัย สร้างผลิตภัณฑ์สุขภาพด้วยภูมิปัญญาของชุมชน จนผู้สูงอายุบ้านปลักปรือได้เป็นผู้ประกอบการรุ่นเดอะที่ลูกหลานต้องจับตามอง

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *